ระบบการปลูกผักโดยไม่ใช่ดินในแบบต่างๆ
ReadyPlanet.com
dot
test member
ชื่อผู้ใช้ :
รหัสผ่าน :
เข้าสู่ระบบอัตโนมัติ :
bullet ลืมรหัสผ่าน
bullet สมัครสมาชิก
dot


facebook.com/h2ohydrogarden hydroponics soilless culture
h2ohydrogarden@hotmail.com/chu0880 hydroponics soilless culture
BANSABAI hostel
Department of Agricultural Extension
Kasetsart University h2ohydrogarden hydroponics soilless culture
IG:h2ohydrogarden
Line:h2ohydrogarden


ระบบการปลูกผักโดยไม่ใช่ดินในแบบต่างๆ

1. ระบบ NFT (Nutrient Film Technique)

การปลูกแบบนี้จะเป็นการปลูกพืชโดยรากแช่อยู่ในสารละลายโดยตรง สารละลายธาตุอาหารจะไหลเป็นแผ่นฟิล์มบางๆ (หนาประมาณ 2-3 มิลิเมตร) ในรางปลูกพืชกว้าง ตั้งแต่ 5-35 ซม. สูงประมาณ 5 - 10 ซม. ความกว้างราง ขึ้นอยู่กับชนิดพืชที่ปลูก ความยาวของราง ตั้งแต่ 5 - 20 เมตร การไหลของสารละลายอาจเป็นแบบต่อเนื่องหรือแบบสลับก็ได้โดยทั่วไปสารละลายจะไหลแบบต่อเนื่อง อัตราไหลอยู่ในช่วง 1 - 2 ลิตร/นาที/ราง

ข้อดีคือใช้น้ำน้อยกว่าระบบอื่น จะเป็นลักษณะรางขาว ก้นแบน น้ำจะไหลผ่านรากเป็นฟิล์มบางๆ ข้อเสีย คือ ราคาเริ่มต้นสูง และหากไฟฟ้าดับติดต่อกันเป็นเวลานาน จะทำให้ต้นไม้ตายพร้อมกันทั้งราง ต้องมีคนดูแลหรือมีปั๊มอัตโนมัติ และเป็นพื้นที่ที่ไฟฟ้าไม่ค่อยดับหรือดับแล้วติดเร็ว

NFT ระบบNFT NFT

2. ระบบ DFT (Deep Flow Technique)

เป็นระบบที่ใช้ท่อ PVC มาปลูกผัก โดยหลักการเดียวกับ ระบบNFT โดยที่มีน้ำไหลผ่านท่อ ความหนาของน้ำจะสูงกว่าระบบNFT จะเป็นระบบที่นิยมใช้กันมากในไทยเนื่องจางต้นทุนถูก

DFT DFT DFT

 

3. ระบบ DRFT (Dynamic Root Floating Technique)

เป็นการปลูกพืชแบบน้ำเยอะ ส่วนมากนิยมปลูกกันในถาดโฟม เหมาะสำหรับปลูกผักไทย

สร้างระบบง่าย ดูแลรักษาง่าย ทำความสะอาดง่าย และประยุกต์ใช้วัสดุที่มีอยู่ในพื้นที่มาทำชุดปลูกได้ค่ะ อายุการใช้งานของระบบขึ้นกับวัสดุที่ทำมาใช้ทำระบบ

DRFT DRFT DRFT

4. การปลูกพืชในวัสดุปลูก (Substrate Culture)

วัสดุปลูกที่นิยมใช้ในการปลูกในประเทศไทยคือ ทรายผสมกับขุยมะพร้าวและแกลบ ในอัตราส่วนต่างๆกัน เหมาะสำหรับปลูกพืชที่มีอายุยาวเพื่อรับประทานผล เช่น มะเขือเทศ พริกหวาน หรือไม้ประดับ

ปลูกพืชในวัสดุปลูก ปลูกพืชในวัสดุปลูก ปลูกพืชในวัสดุปลูก ปลูกพืชในวัสดุปลูก

 

5. ระบบ Aeroponics

เป็นระบบที่รากพืชลอยอยู่ในอากาศ และมีการฉีดสารละลายไปที่รากพืชโดยตรง เนื่องจากต้องใช้ปั๊ปแรงดันสูงในการฉีดสารละลายให้เป็นฝอย จึงเปลืองพลังงานมาก จึงใช้ปลูกแค่ในห้องทดลองเพื่อการทำวิจัย หรือปลูกเป็นงานอดิเรกเท่านั้น ไม่นิยมปลูกเพื่อการค้า

6. ระบบไฮโดรโปนิกส์แบบให้อากาศ

คือการปลูกพืชในสารละลายแล้วปั๊มอากาศเข้าไปในน้ำ เช่นเดียวกับการเติมอากาศในตู้ปลา

 

สำหรับท่านที่ยังสงสัยเรื่องระบบต่างๆของการปลูกผักไฮโดรนะคะ สามารถสอบถามความรู้เพิ่มเติมได้ที่ Facebook: www.facebook.com/h2ohydrogarden หรือแวะเข้ามาชมที่ฟาร์มก็ได้สำหรับท่านที่อยู่กรุงเทพ ฟาร์มเราเปิดทุกวันค่ะ ติดต่อขอข้อมูลได้ที่ 086 500 9698 Line: h2ohydrogarden ฟาร์มเรามีระบบNFT, DFT,DRFTให้ดูค่ะ

ขอขอบคุณข้อมูลและรูปภาพจาก: สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าคุณทหารลาดกระบัง รศ.ดร.อิทธิสุนทร นันทกิจ

  สอบถามเพิ่มเติมเกี่ยวกับการปลูกผัก

เพิ่มเพื่อน




ความรู้เบื้องต้นผักไฮโดร

ก่อนเริ่มต้นปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ ต้องรู้จักระบบน้ำกันก่อน
ปลูกกัญชากัญชงแบบไฮโดรโปนิกส์
ปลูกผักกินเองง่ายๆแบบคนขี้เกียจ
The Kratky Method คืออะไร?
3 ระบบไฮโดรยอดนิยม
การทำลายพืชที่เป็นโรคใบจุดอย่างถูกวิธี
แหล่งน้ำที่เหมาะสมสำหรับการปลูกผักระบบไฮโดโปนิกส์
เครื่องมือวัดแสง Lux meter
การปลูกผักเคล ราคาดี ไม่ยากอย่างที่คิด
ค่าecและค่าpH ในการปลูกผักแต่ละชนิด
อาการพืชใบเหลือง เกิดจากอะไร แก้ยังไง
การเลือกปั๊มน้ำสำหรับรางปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ ให้เหมาะสม
เกร็ดความรู้... เกี่ยวกับสารละลายธาตุอาหารปุ๋ยเอบี
เคล็ดลับการปลูกผักไฮโดรน้ำนิ่งที่คนไม่ค่อยรู้
เคยสงสัยไหมว่าผักไฮโดรเติบโตได้อย่างไร เมื่อไม่มีดิน?
ปัญหาเรื่องระบบน้ำที่พบบ่อยในการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์
งานวิจัยเรื่องปุ๋ยไฮโดรโปนิกส์อินทรีย์
การเปรียบเทียบระหว่างการวัดค่าpH ด้วย pH meter เทียบกับ การวัดด้วย drop test
ความรู้เรื่องการปลูกผักด้วยหลอด LED
ความแตกต่างระหว่างการปลูกแบบน้ำนิ่ง กับ การปลูกแบบน้ำวน
ราชินีของผักทั้งมวลผักเคล (kale)
เคล็ดลับในการเลือกซื้อปุ๋ยเอบี!!!
จุดแข็งของการปลูกพืชด้วยระบบHydroponics
ก่อนปลูกผักสลัดขายต้องรู้อะไรบ้าง?
ปลูกขึ้นฉ่ายน้ำนิ่ง
ครบเครื่องเรื่องปุ๋ยแบบชาวบ้าน
น้ำหมักชีวภาพสำหรับปลูกผักไฮโดรโปนิกส์
ค่า EC ต่อ ผลผลิตพืช
การปลูกผักไฮโดรน้ำนิ่งแบบง่ายๆเองที่บ้าน
เทคนิคการเพาะเมล็ดในเพอร์ไลท์และเวอร์มิคูไลท์
การใช้กับดักกาวเหนียวในฟาร์มผักไฮโดรของเรา
โรคที่เกิดกับต้นอ่อนหรือกล้าผัก
มาทำความรู้จักผักสลัดของเรากันดีกว่า
ปัจจัยที่มีผลต่ออายุของเมล็ดพันธุ์
การทำงานของรากพืชที่ปลูกในระบบไฮโดรโปนิกส์
อาการขาดธาตุอาหารและลักษณะอาการเป็นพิษ
เชื้อ Pythium…….สาเหตุสำคัญของโรคที่เกิดกับราก
ช่องทางการขายผักสลัด
วิธีการล้างและเก็บผักสลัดให้อยู่ได้นานๆ
วิธีการปลูกผักร็อกเก็ต
แมลงที่พบบ่อยในผักไฮโดรโปนิกส์วิธีการป้องกันและกำจัด
ขั้นตอนการกำจัดแมลงเพื่อลดปัญหาแมลงและศัตรูพืชของผักไฮโดรโปนิกส์
โปรแกรม NutriCal article
โรคใบจุดผักไฮโดร
​เตรียมตัวให้พร้อม ก่อนคิดจะปลูกผักสลัดขาย
ขั้นตอนการปลูกผักไฮโดร
การปลูกผักกาดขาวแบบไม่ง้อปั๊มทานเองในครอบครัว
สูตรอาหารพืช ปุ๋ยA+B
การปลูกผักบุ้งระบบไฮโดรแบบน้ำนิ่ง
ทำความรู้จักผักสลัดไฮโดรโปนิกส์
ประวัติความเป็นมาไฮโดรโปนิกส์
ความรู้ทั่วไปของการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ article
เทศกาลกระเช้าผักเริ่มขึ้นแล้ว
กัญชงคืออะไร?
กัญชง V.S. กัญชา ต่างกันอย่างไร
9 ผักสวนครัวที่แนะนำให้ปลูกด้วยระบบไฮโดรโปนิกส์
สิ่งที่ต้องดูแลและควบคุมเมื่อปลูกผักไฮโดรฯ
ต้องดูแลควบคุมอะไรบ้างเมื่อปลูกผักไฮโดรฯ
เรื่องปุ๋ยไฮโดรโปนิกส์อินทรีย์
ผักไฮโดรโปนิกส์ ทำให้เกิดมะเร็ง...จริงหรือ
ปัญหาที่พบบ่อยในการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์
ประโยชน์ของผักไฮโดรโปนิกส์
เปรียบเทียบการปลูกด้วยเพอร์ไลท์และฟองน้ำ
โรคพืชต่างๆในระบบไฮโดรโปนิกส์และการป้องกัน
วิธีการปลูกผัก watercress แบบง่ายๆ
การปลูกผักไฮโดรโปนิกส์เพื่อหารายได้เสริม
การควบคุมโรคผักโดยชีววิธี-ในการปลูกผักไฮโดรฯไร้สาร