เทคนิคการเพาะเมล็ดในเพอร์ไลท์และเวอร์มิคูไลท์
ReadyPlanet.com
dot
test member
ชื่อผู้ใช้ :
รหัสผ่าน :
เข้าสู่ระบบอัตโนมัติ :
bullet ลืมรหัสผ่าน
bullet สมัครสมาชิก
dot


facebook.com/h2ohydrogarden hydroponics soilless culture
h2ohydrogarden@hotmail.com/chu0880 hydroponics soilless culture
BANSABAI hostel
Department of Agricultural Extension
Kasetsart University h2ohydrogarden hydroponics soilless culture
IG:h2ohydrogarden
Line:h2ohydrogarden


เทคนิคการเพาะเมล็ดในเพอร์ไลท์และเวอร์มิคูไลท์

เทคนิคการเพาะเมล็ดในเพอร์ไลท์และเวอร์มิคูไลท์

วันนี้จะมาพูดถึงการเพาะเมล็ดในเพอร์ไลท์และเวอร์มิคูไลท์นะคะ ซึ่งเป็นวัสดุปลูกชนิดหนึ่งที่นิยมใช้มากในการปลูกผักสลัดในประเทศไทยพอๆกับการใช้ฟองน้ำเลยค่ะ ราคาต้นทุนในการปลูกผักสลัดด้วยเพอร์ไลท์นั้นก็จะสูงกว่าการปลูกด้วยฟองน้ำนะคะ แต่จากที่ฟาร์มเราทดลองปลูกเทียบกันดูนั้น พบว่าการใช้เพอร์ไลท์ปลูกนั้น มีอัตราการงอกและเจริญเติบโตสำหรับผักสลัดที่ดีกว่า ทางฟาร์มผัก H2O Hydro Garden เลยใช้เพอร์ไลท์ปลูก 100%ค่ะ

 

เพอร์ไลท์และเวอร์มิคูไลท์ เวอร์มิคูไลท์ เพอร์ไลท์ วัสดุปลูก วัสดุปลูกไฮโดร วัสดุปลูกผักไฮโดรโปนิกส์

การใช้เพอร์ไลท์+เวอร์มิคูไลท์ จะอยู่ที่อัตราส่วน 6:1 นะคะ สำหรับคนที่ไม่เคยเพาะนั้นหรือไม่เคยเห็นเจ้าตัวเพอร์ไลท์และเวอร์มิคูไลท์มาก่อน ขออธิบายคร่าวๆคือ เพอร์ไลท์  จะมีสีขาวค่ะ มีลักษณะเป็นเม็ดขนาด 3- 6 มม. มีน้ำหนักเบา เอาไว้เป็นที่ยึดเกาะของรากพืชค่ะ ส่วน เวอร์มิคูไลท์ จะมีสีน้ำตาล แบนๆเป็นชั้นๆ ตัวนี้จะช่วยในเรื่องของการอุ้มน้ำได้ดี ทำให้วัสดุปลูกมีความชื้น ไม่แห้ง แต่ต้องระวังไม่ใส่มากเกินไป เพราะจะทำให้ต้นกล้าเน่าได้ค่ะ เรานำเพอร์ไลท์+เวอร์มิคูไลท์มาคลุกเคล้ารวมกันนะคะ ตามอัตราการผสมที่บอกไปก่อนหน้านี้ จากนั้น ก็นำมาใส่ในถ้วยปลูกพลาสติกสีฟ้าได้เลยค่ะ (ตัวถ้วยปลูกสีฟ้าหรือบางคนเรียกสีเขียวนั้นตามปกติจะมีรอยผ่า 2 เส้นที่ก้นถ้วย เพื่อให้รากพืชแทงทะลุออกมาได้ โดย 1 แผงจะมี 80 ใบค่ะเป็นถ้วยปลูกที่ไม่สามารถน้ำกลับมาใช้ซ้ำได้ ไม่เหมือนถ้วยดำที่นำกลับมาใช้ใหม่)

 

 ให้ใส่เพอร์ไลท์ในถ้วยปลูกความสูงประมาณ 2/3 - 3/4ของถ้วยปลูกนะคะ (เหตุผลที่เราไม่ใส่เพอร์ไลท์เต็มถ้วยก็เพราะว่า ถ้าหากเราใส่เต็มถ้วยปลูกจะมีปัญหาเวลาเรารดน้ำนั่นเอง เมล็ดที่เราหยอดไว้อาจกระเด็นออกจากถ้วยตอนรดน้ำค่ะ ทำในเกิดความเสียหายนั่นเอง) และทำการเขย่านิดหน่อยให้เพอร์ไลท์แน่นและช่วยให้ฝุ่นเล็กๆในเพอร์ไลท์หลุดออกมาจากถ้วยด้วยค่ะ เพื่อที่ว่าฝุ่นเล็กๆนี้จะได้ไม่ลงไปในระบบปลูกมากเวลานำขึ้นแปลงปลูก จากนั้นหยอดเมล็ดลงไปในถ้วย โดยไม่ต้องกลบเมล็ด เมื่อวางเมล็ดจนครบทั้งถาดแล้ว ให้เขย่าถาดเพาะเบาๆ เมล็ดจะจมลงไปเองค่ะ เมล็ดควรจมลงไปแค่ผิวๆของวัสดุปลูกเท่านั้น ถ้าจบมากไปอาจเน่าและไม่งอกได้ค่ะ การงอกของเมล็ดใน3-5วันแรกไม่ต้องการแสงมาก และควรลดน้ำเช้าเย็นในช่วงแรกเพื่อให้มั่นใจว่าวัสดุปลูกมีความชื้น และไม่แห้งตลอดทั้งวันค่ะ ในวันที่ 4-5เราควรเริ่มสังเกตว่าต้นกล้าของเราเริ่มยืดหรือไม่นะคะ ไม่ควรปล่อยให้ต้นยืดเกินไปเพราะจะทำให้อ่อนแอและลำต้นหักหรือล้นได้ง่ายค่ะ ส่วนใหญ่ประมาณวันที่ 4-5เราก็จะย้ายลงรางอนุบาลกันแล้วค่ะ

 

ใครมีคำถามอะไรเพิ่มเติมสามารถสอบถามได้ในFacebook https://www.facebook.com/h2ohydrogarden หรือLine: h2ohydrogarden ได้เลยนะคะ ยินดีตอบทุกคำถามจ้าาาาาาาาาาาาาาาาาาาา

  สอบถามเพิ่มเติมเกี่ยวกับการปลูกผัก

 

เพิ่มเพื่อน

 



ความรู้เบื้องต้นผักไฮโดร

ก่อนเริ่มต้นปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ ต้องรู้จักระบบน้ำกันก่อน
ปลูกกัญชากัญชงแบบไฮโดรโปนิกส์
ปลูกผักกินเองง่ายๆแบบคนขี้เกียจ
The Kratky Method คืออะไร?
3 ระบบไฮโดรยอดนิยม
การทำลายพืชที่เป็นโรคใบจุดอย่างถูกวิธี
แหล่งน้ำที่เหมาะสมสำหรับการปลูกผักระบบไฮโดโปนิกส์
เครื่องมือวัดแสง Lux meter
การปลูกผักเคล ราคาดี ไม่ยากอย่างที่คิด
ค่าecและค่าpH ในการปลูกผักแต่ละชนิด
อาการพืชใบเหลือง เกิดจากอะไร แก้ยังไง
การเลือกปั๊มน้ำสำหรับรางปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ ให้เหมาะสม
เกร็ดความรู้... เกี่ยวกับสารละลายธาตุอาหารปุ๋ยเอบี
เคล็ดลับการปลูกผักไฮโดรน้ำนิ่งที่คนไม่ค่อยรู้
เคยสงสัยไหมว่าผักไฮโดรเติบโตได้อย่างไร เมื่อไม่มีดิน?
ปัญหาเรื่องระบบน้ำที่พบบ่อยในการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์
งานวิจัยเรื่องปุ๋ยไฮโดรโปนิกส์อินทรีย์
การเปรียบเทียบระหว่างการวัดค่าpH ด้วย pH meter เทียบกับ การวัดด้วย drop test
ความรู้เรื่องการปลูกผักด้วยหลอด LED
ความแตกต่างระหว่างการปลูกแบบน้ำนิ่ง กับ การปลูกแบบน้ำวน
ราชินีของผักทั้งมวลผักเคล (kale)
เคล็ดลับในการเลือกซื้อปุ๋ยเอบี!!!
จุดแข็งของการปลูกพืชด้วยระบบHydroponics
ก่อนปลูกผักสลัดขายต้องรู้อะไรบ้าง?
ปลูกขึ้นฉ่ายน้ำนิ่ง
ครบเครื่องเรื่องปุ๋ยแบบชาวบ้าน
น้ำหมักชีวภาพสำหรับปลูกผักไฮโดรโปนิกส์
ค่า EC ต่อ ผลผลิตพืช
การปลูกผักไฮโดรน้ำนิ่งแบบง่ายๆเองที่บ้าน
การใช้กับดักกาวเหนียวในฟาร์มผักไฮโดรของเรา
โรคที่เกิดกับต้นอ่อนหรือกล้าผัก
มาทำความรู้จักผักสลัดของเรากันดีกว่า
ปัจจัยที่มีผลต่ออายุของเมล็ดพันธุ์
การทำงานของรากพืชที่ปลูกในระบบไฮโดรโปนิกส์
อาการขาดธาตุอาหารและลักษณะอาการเป็นพิษ
เชื้อ Pythium…….สาเหตุสำคัญของโรคที่เกิดกับราก
ช่องทางการขายผักสลัด
วิธีการล้างและเก็บผักสลัดให้อยู่ได้นานๆ
วิธีการปลูกผักร็อกเก็ต
แมลงที่พบบ่อยในผักไฮโดรโปนิกส์วิธีการป้องกันและกำจัด
ขั้นตอนการกำจัดแมลงเพื่อลดปัญหาแมลงและศัตรูพืชของผักไฮโดรโปนิกส์
โปรแกรม NutriCal article
โรคใบจุดผักไฮโดร
​เตรียมตัวให้พร้อม ก่อนคิดจะปลูกผักสลัดขาย
ขั้นตอนการปลูกผักไฮโดร
การปลูกผักกาดขาวแบบไม่ง้อปั๊มทานเองในครอบครัว
สูตรอาหารพืช ปุ๋ยA+B
การปลูกผักบุ้งระบบไฮโดรแบบน้ำนิ่ง
ระบบการปลูกผักโดยไม่ใช่ดินในแบบต่างๆ
ทำความรู้จักผักสลัดไฮโดรโปนิกส์
ประวัติความเป็นมาไฮโดรโปนิกส์
ความรู้ทั่วไปของการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ article
เทศกาลกระเช้าผักเริ่มขึ้นแล้ว
กัญชงคืออะไร?
กัญชง V.S. กัญชา ต่างกันอย่างไร
9 ผักสวนครัวที่แนะนำให้ปลูกด้วยระบบไฮโดรโปนิกส์
สิ่งที่ต้องดูแลและควบคุมเมื่อปลูกผักไฮโดรฯ
ต้องดูแลควบคุมอะไรบ้างเมื่อปลูกผักไฮโดรฯ
เรื่องปุ๋ยไฮโดรโปนิกส์อินทรีย์
ผักไฮโดรโปนิกส์ ทำให้เกิดมะเร็ง...จริงหรือ
ปัญหาที่พบบ่อยในการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์
ประโยชน์ของผักไฮโดรโปนิกส์
เปรียบเทียบการปลูกด้วยเพอร์ไลท์และฟองน้ำ
โรคพืชต่างๆในระบบไฮโดรโปนิกส์และการป้องกัน
วิธีการปลูกผัก watercress แบบง่ายๆ
การปลูกผักไฮโดรโปนิกส์เพื่อหารายได้เสริม
การควบคุมโรคผักโดยชีววิธี-ในการปลูกผักไฮโดรฯไร้สาร