ช่องทางการขายผักสลัด
ReadyPlanet.com
dot
test member
ชื่อผู้ใช้ :
รหัสผ่าน :
เข้าสู่ระบบอัตโนมัติ :
bullet ลืมรหัสผ่าน
bullet สมัครสมาชิก
dot


facebook.com/h2ohydrogarden hydroponics soilless culture
h2ohydrogarden@hotmail.com/chu0880 hydroponics soilless culture
BANSABAI hostel
Department of Agricultural Extension
Kasetsart University h2ohydrogarden hydroponics soilless culture
IG:h2ohydrogarden
Line:h2ohydrogarden


ช่องทางการขายผักสลัด

ช่องทางการขายผัก การขายผักสลัด ขายผักสลัดที่ไหนดี ตลาดผักไฮโดรโปนิกส์

ช่องทางการขายผักสลัด

ช่องทางการขายสลัดนั้นมีหลายช่องทางนะคะ เราควรเลือกดูช่องทางที่เหมาะกับเราก่อนที่จะเริ่มปลูกผักเสียอีก เพราะการตลาดเป็นหนึ่งในปัจจัยสำคัญที่จะทำให้เราสามารถประสบความสำเร็จในการทำฟาร์มผักไฮโดรโปนิกส์ได้นั่นเองค่ะ ช่องทางแต่ละอันก็จะมีข้อดีและเสียแตกต่างกันไป แล้วแต่ที่ใครจะเลือกเข้าช่องทางไหนตามขนาดฟาร์ม กำลังผลิต การบริหารจัดการ และความเก่งของฟาร์มแต่ละฟาร์มนั่นเอง ช่องทางการขายผักแบ่งเป็นคร่าวๆตามนี้นะคะ

1.ตลาดWholesale

คือตลาดที่เน้นปริมาณเป็นหลัก เช่น ตลาดไทย สี่มุมเมือง มหานาค ตลาดราชบุรี ถ้าจะเข้าตลาดนี้ราคาจะต่ำมาก อยู่ที่ 60-75 บาทต่อกิโล ผักส่วนใหญ่มาจากเขาค้อ ซึ่งตลาดนี้จะมีการต่อสู้เรื่องราคาค่อนข้างสูง ลูกค้าค่อยแน่นอนเพราะจะเลือกซื้อกับเจ้าที่ขายถูกสุดนั่นเอง 

2. Factory

Factoryในที่นี่คือโรงงานแปรรูปอาหาร โรงงานส่งออกอาหารต่างๆ ที่ส่งให้กับพวกร้านอาหารใหญ่ๆเช่น KFC หรือ Minor นั่นเอง สำหรับช่องทางนี้เหมาะสำหรับฟาร์มที่มีขนาดใหญ่และมีระบบการจัดการการปลูกที่ดีเพราะโรงงานจะเน้นคุณภาพเป็นหลัก ผักทุกต้นต้องได้สเปคที่ตกลงไว้ในสัญญา ราคาที่ได้จะเป็นราคากลางๆ แต่มีความแน่นอนในการใช้ผัก ข้อที่ยากสำหรับการเข้าตลาดนี้คือ ผู้ผลิตต้องมีมาตรฐานในการผลิต เช่น GAP GMP หรือ HACCP

3. Modern Trade

ช่องทางนี้คือการขายเข้าห้างนั่นเอง จุดสำคัญในการทำตลาดนี้คือเราต้องเน้นคุณภาพของสินค้า branding และ packaging สินค้าต้องมีมาตรฐาน GMPเป็นอย่างต่ำ ราคาขึ้นอยู่กับระดับของห้างแต่ละที่ แต่ค่าใช้จ่ายทางห้างค่อนข้างสูง เช่นค่าเปิดitem, ค่าเปิดร้าน หรือค่าวันเกิด นอกจากนี้ยังมี GP และ RB ที่เราต้องหักให้ห้างในแต่ละเดือน ซึ่งประมาณ 15-25%ของโครงสร้างราคา

4. Airline and Catering

ตลาดสายการบินเป็นอีกหนึ่งตลาดที่ให้ราคาที่ค่อนข้างดี ส่วนใหญ่จะมีการทำสัญญากันประมูลกันเป็นปีๆ เช่น การบินไทย ครัวการบิน LSG เป็นต้น ตลาดนี้เน้นคุณภาพสินค้าเช่นกัน มีการทำสัญญา หากขาดส่งจะต้องเสียค่าปรับ ราคาและปริมาณจะเป็นราคาที่ตกลงกันตลอดทั้งปี ส่วนcateringจะเป็นพวกบริษัทรับจัดเลี้ยงต่างๆ ซึ่งมีความต้องการผักที่ไม่ค่อยแน่นอนเท่าไหร

5. Food service and Restaurant

ร้านอาหารทั่วไปคืออีกช่องทางหนึ่งในการขายผัก ส่วนใหญ่ร้านพวกนี่จะสั่งในปริมาณไม่มากแต่บ่อย เพราะร้านส่วนใหญ่จะมีข้อจำกัดเรื่องการจัดเก็บสินค้า ส่วนใหญ่ร้านจะมีsupplierมากกว่า1เจ้า ซึ่งจะส่งผลต่อเรื่องต่อรองราคาถ้าร้านไหนมีสาขาที่มาก การทำตลาดนี้จะเน้นเรื่องการบริหารการจัดส่งสินค้าเพราะค่าส่งค่อนข้างแพง และร้านค้าแต่ละที่มักอยู่กระจายกัน จึงทำให้การบริหารจัดการเรื่องค่าจัดส่งเป็นเรื่องสำคัญที่สุด

6. End user and Green market

การขายตรงถึงมือผู้บริโภค เป็นช่องทางที่ได้ราคาค่อนข้างดีเพราะตัดเรื่องพ่อค้าคนกลางออกไป แต่การขายช่องทางนี้ต้องเน้นไปในการสร้างbrandingและmarketing การออกหาตลาดตามออฟฟิต ตลาดนัด green marketต่างๆนั่นเอง

 

ข้อมูลจาก: Speedy Access

เรียบเรียงโดย H2O Hydro Garden 

 

  สอบถามเพิ่มเติมเกี่ยวกับการปลูกผัก

เพิ่มเพื่อน

 




ความรู้เบื้องต้นผักไฮโดร

ก่อนเริ่มต้นปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ ต้องรู้จักระบบน้ำกันก่อน
ปลูกกัญชากัญชงแบบไฮโดรโปนิกส์
ไฮโดรโปนิกส์แบบแนวตั้ง
The Kratky Method คืออะไร?
3 ระบบไฮโดรยอดนิยม
การทำลายพืชที่เป็นโรคใบจุดอย่างถูกวิธี
แหล่งน้ำที่เหมาะสมสำหรับการปลูกผักระบบไฮโดโปนิกส์
เครื่องมือวัดแสง Lux meter
การปลูกผักเคล ราคาดี ไม่ยากอย่างที่คิด
ค่าecและค่าpH ในการปลูกผักแต่ละชนิด
อาการพืชใบเหลือง เกิดจากอะไร แก้ยังไง
การเลือกปั๊มน้ำสำหรับรางปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ ให้เหมาะสม
เกร็ดความรู้... เกี่ยวกับสารละลายธาตุอาหารปุ๋ยเอบี
เคล็ดลับการปลูกผักไฮโดรน้ำนิ่งที่คนไม่ค่อยรู้
เคยสงสัยไหมว่าผักไฮโดรเติบโตได้อย่างไร เมื่อไม่มีดิน?
ปัญหาเรื่องระบบน้ำที่พบบ่อยในการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์
งานวิจัยเรื่องปุ๋ยไฮโดรโปนิกส์อินทรีย์
การเปรียบเทียบระหว่างการวัดค่าpH ด้วย pH meter เทียบกับ การวัดด้วย drop test
ปลูกผักกินเองง่ายๆแบบคนขี้เกียจ
ความรู้เรื่องการปลูกผักด้วยหลอด LED
ความแตกต่างระหว่างการปลูกแบบน้ำนิ่ง กับ การปลูกแบบน้ำวน
ราชินีของผักทั้งมวลผักเคล (kale)
เคล็ดลับในการเลือกซื้อปุ๋ยเอบี!!!
จุดแข็งของการปลูกพืชด้วยระบบHydroponics
ก่อนปลูกผักสลัดขายต้องรู้อะไรบ้าง?
ปลูกขึ้นฉ่ายน้ำนิ่ง
ครบเครื่องเรื่องปุ๋ยแบบชาวบ้าน
น้ำหมักชีวภาพสำหรับปลูกผักไฮโดรโปนิกส์
ค่า EC ต่อ ผลผลิตพืช
การปลูกผักไฮโดรน้ำนิ่งแบบง่ายๆเองที่บ้าน
เทคนิคการเพาะเมล็ดในเพอร์ไลท์และเวอร์มิคูไลท์
การใช้กับดักกาวเหนียวในฟาร์มผักไฮโดรของเรา
โรคที่เกิดกับต้นอ่อนหรือกล้าผัก
มาทำความรู้จักผักสลัดของเรากันดีกว่า
ปัจจัยที่มีผลต่ออายุของเมล็ดพันธุ์
การทำงานของรากพืชที่ปลูกในระบบไฮโดรโปนิกส์
อาการขาดธาตุอาหารและลักษณะอาการเป็นพิษ
เชื้อ Pythium…….สาเหตุสำคัญของโรคที่เกิดกับราก
วิธีการล้างและเก็บผักสลัดให้อยู่ได้นานๆ
วิธีการปลูกผักร็อกเก็ต
แมลงที่พบบ่อยในผักไฮโดรโปนิกส์วิธีการป้องกันและกำจัด
ขั้นตอนการกำจัดแมลงเพื่อลดปัญหาแมลงและศัตรูพืชของผักไฮโดรโปนิกส์
โปรแกรม NutriCal article
โรคใบจุดผักไฮโดร
​เตรียมตัวให้พร้อม ก่อนคิดจะปลูกผักสลัดขาย
ขั้นตอนการปลูกผักไฮโดร
การปลูกผักกาดขาวแบบไม่ง้อปั๊มทานเองในครอบครัว
สูตรอาหารพืช ปุ๋ยA+B
การปลูกผักบุ้งระบบไฮโดรแบบน้ำนิ่ง
ระบบการปลูกผักโดยไม่ใช่ดินในแบบต่างๆ
ทำความรู้จักผักสลัดไฮโดรโปนิกส์
ประวัติความเป็นมาไฮโดรโปนิกส์
ความรู้ทั่วไปของการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ article
ไฮโดรโปนิกส์ปลูกอะไรได้บ้าง
ไฮโดรโปนิกส์น้ำนิ่งคือ?
เทศกาลกระเช้าผักเริ่มขึ้นแล้ว
กัญชงคืออะไร?
กัญชง V.S. กัญชา ต่างกันอย่างไร
9 ผักสวนครัวที่แนะนำให้ปลูกด้วยระบบไฮโดรโปนิกส์
สิ่งที่ต้องดูแลและควบคุมเมื่อปลูกผักไฮโดรฯ
ต้องดูแลควบคุมอะไรบ้างเมื่อปลูกผักไฮโดรฯ
เรื่องปุ๋ยไฮโดรโปนิกส์อินทรีย์
ผักไฮโดรโปนิกส์ ทำให้เกิดมะเร็ง...จริงหรือ
ปัญหาที่พบบ่อยในการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์
ประโยชน์ของผักไฮโดรโปนิกส์
เปรียบเทียบการปลูกด้วยเพอร์ไลท์และฟองน้ำ
โรคพืชต่างๆในระบบไฮโดรโปนิกส์และการป้องกัน
วิธีการปลูกผัก watercress แบบง่ายๆ
การปลูกผักไฮโดรโปนิกส์เพื่อหารายได้เสริม
การควบคุมโรคผักโดยชีววิธี-ในการปลูกผักไฮโดรฯไร้สาร