เชื้อ Pythium…….สาเหตุสำคัญของโรคที่เกิดกับราก
ReadyPlanet.com
dot
test member
ชื่อผู้ใช้ :
รหัสผ่าน :
เข้าสู่ระบบอัตโนมัติ :
bullet ลืมรหัสผ่าน
bullet สมัครสมาชิก
dot


facebook.com/h2ohydrogarden hydroponics soilless culture
h2ohydrogarden@hotmail.com/chu0880 hydroponics soilless culture
BANSABAI hostel
Department of Agricultural Extension
Kasetsart University h2ohydrogarden hydroponics soilless culture
IG:h2ohydrogarden
Line:h2ohydrogarden


เชื้อ Pythium…….สาเหตุสำคัญของโรคที่เกิดกับราก

เชื้อ Pythium…….สาเหตุสำคัญของโรคที่เกิดกับราก

โดยทั่วไปแล้ว สาเหตุหลักของโรคที่เกิดกับราก เกิดจากเชื้อ Pythium spp. เชื้อ Pythium นั้น สามารถเข้าทำลายพืชได้ ตั้งแต่ระยะเพาะกล้าจนโตเต็มที่แล้ว ถ้าเข้าทำลายเมล็ด จะทำให้เมล็ดเน่าและไม่งอกเลย ส่วนที่เพิ่งงอกจะทำลายส่วนโคนต้น ทำให้ต้นกล้าล้มตาย และเกิดรากเน่า ส่วนในกรณีของสลัดผัก บางครั้งเชื้อ Pythium จะเข้าไปทำให้ลำต้นผักแคระแกรนโตช้ากว่าปกติ แต่บางครั้งสังเกตยากเพราะโตช้าเท่ากันหมดทั้งแปลง ทำให้เวลาเก็บเกี่ยวยืดออกไปและส่งผลเสียทางธุรกิจต่อมาโดยไม่รู้ตัว

จากการวิจัย เชื้อ Pythium พบในผักที่เป็นโรค และผักที่สมบูรณ์แข็งแรง นั่นหมายความว่า เชื่อ Pythium สามารถที่เจริญอยู่ในระยะฟักตัว แต่เมื่อได้ก็ตามที่เชื้อดังกล่าวได้รับสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการเกิดโรค หรือเมื่อต้นพืชอ่อนแอก็จะสามารถพัฒนาเป็นระยะก่อโรคได้ จึงพบเสมอว่าโรครากเน่าในผักจะพบมากในช่วงฤดูร้อน และฟาร์มที่มีการจัดการไม่ดีพอ เชื้อ Pythium นั้นมีอยู่หลาย species แต่ในระบบไฮโดรนั้นเจออยู่ 4 ชนิดหลักคือ  Pythium aphanidermatum, P. carolinianum, P. group G และ P. group HS 

เชื้อรา โรครากเน่า เชื้อ pythium โรคราคเน่าผักไฮโดร วิธีแก้ไข วิธีรักษา วิธีป้องกันกำจัด รากเน่าเชื้อรา โรครากเน่า เชื้อ pythium โรคราคเน่าผักไฮโดร วิธีแก้ไข วิธีรักษา วิธีป้องกันกำจัด รากเน่าเชื้อรา โรครากเน่า เชื้อ pythium โรคราคเน่าผักไฮโดร วิธีแก้ไข วิธีรักษา วิธีป้องกันกำจัด รากเน่า

การป้องกันกำจัดโรคทางรากในระบบไฮโดรโปนิกส์

จุดประสงค์หลักอย่างหนึ่งในการปลูกผักไฮโดรของเราคือ การป้องกันปัญหาเรื่องโรคที่อาจจะเกิดให้ได้มากที่สุด เพื่อที่จะทำให้การใช้สารในการป้องกันกำจัดโรคต่างๆน้อยลงมากที่สุดเท่าที่เป็นไปได้ โดยยึดหลักการตามนี้คือ

1. ทำให้ระบบปลูกและพืชที่โดยรอบแปลงผักปลอดจากเชื้อโรคให้ได้มากที่สุด

2. ทำให้พืชเจริญเติบโตแข็งแรงรวดเร็วทนทาน เพื่อให้พ้นจากวงจรการเกิดโรค

หลักสำคัญในการปลูกพืชไฮโดรเพื่อป้องกันกำจัดโรค มีลำดับดังนี้ คือ

หลีกหนี >ป้องกัน >แก้ไข

หลีกหนี – คือการเหลีกเลี่ยงการเผชิญหน้าหันระหว่างเชื้อโรคพืชกับพืชที่เราปลูก เช่น ไม่ใช้วัสดุปลูกที่ไม่แน่ใจว่าปราศจากเชื้อ หรือ ไม่ใช้เมล็ดพันธุ์ที่มาจากแหล่งไม่น่าเชื่อถือ

ป้องกัน – เป็นการป้องกันเชื้อต่างๆ ไม่ให้เข้าสู่ระบบ และ การทำให้พืชจองเรานั้นมีความแข็งแรงทดทานต่อเชื้อโรค เช่น การตรวจดูค่า EC หรือ pH อย่างสม่ำเสมอ ไม่ให้มีการเปลี่ยนแปลงกะทันหันเพราะจะทำให้ผักเกิดความเครียด และอ่อนแอ เลือกพันธุ์พืชที่ทนทาน


การป้องกันและกำจัด

เมื่อพบผักเป็นโรครากเน่าให้เก็บต้นนั้นขึ้นทันที และสำรวจทุกต้นในแปลงและเก็บออกให้หมด เปลี่ยนน้ำปุ๋ยใหม่ทั้งระบบ แล้วเติมเชื้อราไตโครเดอร์ม่าในน้ำปุ๋ย 300cc ต่อน้ำปุ๋ย 100ลิตรทุก3วัน (ปลูกรอบถัดไปเติมเชื้อราไตโครเดอร์ม่าในน้ำปุ๋ย 150 cc ต่อน้ำปุ๋ย 100ลิตร ทุก 1 อาทิตย์ จนโรคหยุดระบาด) การอบรมของเรามีการสอนเพาะเชื้อราไตโครเดอร์ม่าด้วยนะคะ เพื่อประหยัดค่าใช้จ่าย เพราะเชื้อสำเร็จราคาสูงมากค่ะ

 




ความรู้เบื้องต้นผักไฮโดร

ก่อนเริ่มต้นปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ ต้องรู้จักระบบน้ำกันก่อน
ปลูกกัญชากัญชงแบบไฮโดรโปนิกส์
ไฮโดรโปนิกส์แบบแนวตั้ง
The Kratky Method คืออะไร?
3 ระบบไฮโดรยอดนิยม
การทำลายพืชที่เป็นโรคใบจุดอย่างถูกวิธี
แหล่งน้ำที่เหมาะสมสำหรับการปลูกผักระบบไฮโดโปนิกส์
เครื่องมือวัดแสง Lux meter
การปลูกผักเคล ราคาดี ไม่ยากอย่างที่คิด
ค่าecและค่าpH ในการปลูกผักแต่ละชนิด
อาการพืชใบเหลือง เกิดจากอะไร แก้ยังไง
การเลือกปั๊มน้ำสำหรับรางปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ ให้เหมาะสม
เกร็ดความรู้... เกี่ยวกับสารละลายธาตุอาหารปุ๋ยเอบี
เคล็ดลับการปลูกผักไฮโดรน้ำนิ่งที่คนไม่ค่อยรู้
เคยสงสัยไหมว่าผักไฮโดรเติบโตได้อย่างไร เมื่อไม่มีดิน?
ปัญหาเรื่องระบบน้ำที่พบบ่อยในการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์
งานวิจัยเรื่องปุ๋ยไฮโดรโปนิกส์อินทรีย์
การเปรียบเทียบระหว่างการวัดค่าpH ด้วย pH meter เทียบกับ การวัดด้วย drop test
ปลูกผักกินเองง่ายๆแบบคนขี้เกียจ
ความรู้เรื่องการปลูกผักด้วยหลอด LED
ความแตกต่างระหว่างการปลูกแบบน้ำนิ่ง กับ การปลูกแบบน้ำวน
ราชินีของผักทั้งมวลผักเคล (kale)
เคล็ดลับในการเลือกซื้อปุ๋ยเอบี!!!
จุดแข็งของการปลูกพืชด้วยระบบHydroponics
ก่อนปลูกผักสลัดขายต้องรู้อะไรบ้าง?
ปลูกขึ้นฉ่ายน้ำนิ่ง
ครบเครื่องเรื่องปุ๋ยแบบชาวบ้าน
น้ำหมักชีวภาพสำหรับปลูกผักไฮโดรโปนิกส์
ค่า EC ต่อ ผลผลิตพืช
การปลูกผักไฮโดรน้ำนิ่งแบบง่ายๆเองที่บ้าน
เทคนิคการเพาะเมล็ดในเพอร์ไลท์และเวอร์มิคูไลท์
การใช้กับดักกาวเหนียวในฟาร์มผักไฮโดรของเรา
โรคที่เกิดกับต้นอ่อนหรือกล้าผัก
มาทำความรู้จักผักสลัดของเรากันดีกว่า
ปัจจัยที่มีผลต่ออายุของเมล็ดพันธุ์
การทำงานของรากพืชที่ปลูกในระบบไฮโดรโปนิกส์
อาการขาดธาตุอาหารและลักษณะอาการเป็นพิษ
ช่องทางการขายผักสลัด
วิธีการล้างและเก็บผักสลัดให้อยู่ได้นานๆ
วิธีการปลูกผักร็อกเก็ต
แมลงที่พบบ่อยในผักไฮโดรโปนิกส์วิธีการป้องกันและกำจัด
ขั้นตอนการกำจัดแมลงเพื่อลดปัญหาแมลงและศัตรูพืชของผักไฮโดรโปนิกส์
โปรแกรม NutriCal article
โรคใบจุดผักไฮโดร
​เตรียมตัวให้พร้อม ก่อนคิดจะปลูกผักสลัดขาย
ขั้นตอนการปลูกผักไฮโดร
การปลูกผักกาดขาวแบบไม่ง้อปั๊มทานเองในครอบครัว
สูตรอาหารพืช ปุ๋ยA+B
การปลูกผักบุ้งระบบไฮโดรแบบน้ำนิ่ง
ระบบการปลูกผักโดยไม่ใช่ดินในแบบต่างๆ
ทำความรู้จักผักสลัดไฮโดรโปนิกส์
ประวัติความเป็นมาไฮโดรโปนิกส์
ความรู้ทั่วไปของการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ article
ไฮโดรโปนิกส์ปลูกอะไรได้บ้าง
ไฮโดรโปนิกส์น้ำนิ่งคือ?
เทศกาลกระเช้าผักเริ่มขึ้นแล้ว
กัญชงคืออะไร?
กัญชง V.S. กัญชา ต่างกันอย่างไร
9 ผักสวนครัวที่แนะนำให้ปลูกด้วยระบบไฮโดรโปนิกส์
สิ่งที่ต้องดูแลและควบคุมเมื่อปลูกผักไฮโดรฯ
ต้องดูแลควบคุมอะไรบ้างเมื่อปลูกผักไฮโดรฯ
เรื่องปุ๋ยไฮโดรโปนิกส์อินทรีย์
ผักไฮโดรโปนิกส์ ทำให้เกิดมะเร็ง...จริงหรือ
ปัญหาที่พบบ่อยในการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์
ประโยชน์ของผักไฮโดรโปนิกส์
เปรียบเทียบการปลูกด้วยเพอร์ไลท์และฟองน้ำ
โรคพืชต่างๆในระบบไฮโดรโปนิกส์และการป้องกัน
วิธีการปลูกผัก watercress แบบง่ายๆ
การปลูกผักไฮโดรโปนิกส์เพื่อหารายได้เสริม
การควบคุมโรคผักโดยชีววิธี-ในการปลูกผักไฮโดรฯไร้สาร