ผักไฮโดรโปนิกส์ ทำให้เกิดมะเร็ง...จริงหรือ
ReadyPlanet.com
dot
test member
ชื่อผู้ใช้ :
รหัสผ่าน :
เข้าสู่ระบบอัตโนมัติ :
bullet ลืมรหัสผ่าน
bullet สมัครสมาชิก
dot


facebook.com/h2ohydrogarden hydroponics soilless culture
h2ohydrogarden@hotmail.com/chu0880 hydroponics soilless culture
BANSABAI hostel
Department of Agricultural Extension
Kasetsart University h2ohydrogarden hydroponics soilless culture
IG:h2ohydrogarden
Line:h2ohydrogarden


ผักไฮโดรโปนิกส์ ทำให้เกิดมะเร็ง...จริงหรือ

ผักไฮโดรโปนิกส์ ทำให้เกิดมะเร็ง...จริงหรือ

สำหรับการปลูกผักด้วยไฮโดรโปนิกส์นั้นเป็นที่นิยมและแพร่หลายมากในปัจจุบัน เพราะการปลูกผักด้วยระบบไฮโดรใช้พื้นที่น้อยในการปลูก ให้ผลผลิตที่สูง อีกทั้งยังดูแลรักษาง่ายกว่าการปลูกพืชบนดิน ซึ่งผู้ปลูกด้วยดินปกตินั้นต้องสู้กับโรคที่มากับดินและวัชพืชจำนวนมาก ดังนั้นการปลูกแบบไฮโดรโปนิกส์จึงมีความจำเป็นน้อยมากในการใช้สารเคมีเพื่อกำจัดแมลง แต่อย่างไรก็ตามยังมีผู้บริโภคที่สงสัยและไม่เข้าใจเกี่ยวกับความปลอดภัยของสารละลายธาตุอาหารที่ให้กับพืช หลายคนเข้าใจว่าการที่พืชทานสารอาหารที่เป็นสารละลายเคมีนั้น หมายถึงการทานสารเคมีเข้าไปโดยตรง ซึ่งความเชื่อนี้เป็นความเชื่อที่ผิดมาก เพราะพืชดูดอาหารในรูปแบบไอออนนั่นเอง ไม่ว่าการปลูกผักด้วยไฮโดรโปนิกส์ แบบออแกนิกส์ หรือวิธีไหนก็ตาม พืชยังคงรับสารอาหารในรูปแบบไอออนเหมือนกันทั้งสิ้น ดูง่ายๆจากรูปอธิบายการดูดอาหารของพืชด้านล่างนี้

อันตราย ผักไฮโดรโปนิกส์ สารตกค้าง ไนเตรท สารเคมี ผักไฮโดร ไฮโดรโปนิกส์ ผักสลัด เคมี

อีกหนึ่งเรื่องที่ผู้บริโภคผักกลัวคือสารเคมีตกค้างในผักที่ปลูกด้วยระบบไฮโดรโปนิกส์ สารหลักที่กลัวกันคือสารไนเตรท ที่หากตกค้างในผักเป็นจำนวนมาก จะทำให้เสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งได้ ซึ่งประเด็นเรื่องไนเตรทในผักไฮโดรโปนิกส์ได้มีการเริ่มพูดถึงมากในประเทศไทยในช่วงไม่กี่ปีนี้ ข่าวต่างๆออกมาทำให้ผู้บริโภคแตกตื่นตกใจและสับสน ส่วนในต่างประเทศได้มีการพูดถึงไนเตรทมากในช่วง 10ปีที่แล้ว เหตุเพราะผักไฮโดรที่ปลูกในต่างประเทศซึ่งมีอากาศหนาว ส่วนใหญ่มีปัญหาเรื่องค่าไนเตรทสูงเนื่องจากแสงแดดไม่พอ ผักไม่มีแสงพอในการสังเคราะห์แสงนั่นเอง ทำให้ผักที่ปลูกในประเทศที่มีแดดน้อยมีปัญหาเรื่องไนเตรทค่อนข้างเยอะ ซึ่งค่ามาตรฐานของไนเตรทอยู่ที่ไม่เกิน 3,000 มิลลิกรัม/กิโลกรัม ส่วนในประเทศไทยนั้นเรื่องของไนเตรทในผักไฮโดรโปนิกส์ในฟาร์มส่วนใหญ่ วัดค่าได้ที่ 1,500-2,000 มิลลิกรัม/กิโลกรัม ซึ่งไม่ใช่เรื่องแปลกเพราะเมืองไทยแดดเยอะ และยังมีฟาร์มผักไฮโดรโปนิกส์ไม่ใช่น้อยที่ใส่ใจเรื่องของความกังวลของผู้บริโภค จึงมีการลดค่าความเข้มข้นของปุ๋ยก่อนเก็บเกี่ยว หรือบางรายก็ให้พืชทานน้ำเปล่าก่อนเก็บเกี่ยว ซึ่งช่วยลดสารไนเตรทที่ตกค้างในผักได้อีกวิธี เพื่อเพิ่มความมั่นใจกับผู้บริโภคนั่นเอง

เรื่องของสารไนเตรทที่ตกค้างจึงไม่ค่อยเป็นเรื่องที่ผู้บริโภคควรกังวลนั่น เรื่องจริงๆที่ควรใส่ใจกันมากคือการเลือกซื้อผักจากฟาร์มที่เรามั่นใจว่าไม่ใช้สารเคมีในการกำจัดแมลงหรือศัตรูพืชมากกว่า กระบวนการปลูกเป็นเรื่องของจรรยาบรรณผู้ปลูก ไม่ว่าจะเป็นผักที่ปลูกกับดินหรือผักที่ปลูกแบบไฮโดรโปนิกส์ หากผู้ปลูกไม่มีจรรยาบรรณ ไม่ว่าผักที่ปลูกด้วยกระบวนการปลูกแบบไหนก็ไม่ใช้เรื่องสำคัญอีกต่อไป

  สอบถามเพิ่มเติมเกี่ยวกับการปลูกผัก

 

เพิ่มเพื่อน

 




ความรู้เบื้องต้นผักไฮโดร

ก่อนเริ่มต้นปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ ต้องรู้จักระบบน้ำกันก่อน
ปลูกกัญชากัญชงแบบไฮโดรโปนิกส์
ไฮโดรโปนิกส์แบบแนวตั้ง
The Kratky Method คืออะไร?
3 ระบบไฮโดรยอดนิยม
การทำลายพืชที่เป็นโรคใบจุดอย่างถูกวิธี
แหล่งน้ำที่เหมาะสมสำหรับการปลูกผักระบบไฮโดโปนิกส์
เครื่องมือวัดแสง Lux meter
การปลูกผักเคล ราคาดี ไม่ยากอย่างที่คิด
ค่าecและค่าpH ในการปลูกผักแต่ละชนิด
อาการพืชใบเหลือง เกิดจากอะไร แก้ยังไง
การเลือกปั๊มน้ำสำหรับรางปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ ให้เหมาะสม
เกร็ดความรู้... เกี่ยวกับสารละลายธาตุอาหารปุ๋ยเอบี
เคล็ดลับการปลูกผักไฮโดรน้ำนิ่งที่คนไม่ค่อยรู้
เคยสงสัยไหมว่าผักไฮโดรเติบโตได้อย่างไร เมื่อไม่มีดิน?
ปัญหาเรื่องระบบน้ำที่พบบ่อยในการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์
งานวิจัยเรื่องปุ๋ยไฮโดรโปนิกส์อินทรีย์
การเปรียบเทียบระหว่างการวัดค่าpH ด้วย pH meter เทียบกับ การวัดด้วย drop test
ปลูกผักกินเองง่ายๆแบบคนขี้เกียจ
ความรู้เรื่องการปลูกผักด้วยหลอด LED
ความแตกต่างระหว่างการปลูกแบบน้ำนิ่ง กับ การปลูกแบบน้ำวน
ราชินีของผักทั้งมวลผักเคล (kale)
เคล็ดลับในการเลือกซื้อปุ๋ยเอบี!!!
จุดแข็งของการปลูกพืชด้วยระบบHydroponics
ก่อนปลูกผักสลัดขายต้องรู้อะไรบ้าง?
ปลูกขึ้นฉ่ายน้ำนิ่ง
ครบเครื่องเรื่องปุ๋ยแบบชาวบ้าน
น้ำหมักชีวภาพสำหรับปลูกผักไฮโดรโปนิกส์
ค่า EC ต่อ ผลผลิตพืช
การปลูกผักไฮโดรน้ำนิ่งแบบง่ายๆเองที่บ้าน
เทคนิคการเพาะเมล็ดในเพอร์ไลท์และเวอร์มิคูไลท์
การใช้กับดักกาวเหนียวในฟาร์มผักไฮโดรของเรา
โรคที่เกิดกับต้นอ่อนหรือกล้าผัก
มาทำความรู้จักผักสลัดของเรากันดีกว่า
ปัจจัยที่มีผลต่ออายุของเมล็ดพันธุ์
การทำงานของรากพืชที่ปลูกในระบบไฮโดรโปนิกส์
อาการขาดธาตุอาหารและลักษณะอาการเป็นพิษ
เชื้อ Pythium…….สาเหตุสำคัญของโรคที่เกิดกับราก
ช่องทางการขายผักสลัด
วิธีการล้างและเก็บผักสลัดให้อยู่ได้นานๆ
วิธีการปลูกผักร็อกเก็ต
แมลงที่พบบ่อยในผักไฮโดรโปนิกส์วิธีการป้องกันและกำจัด
ขั้นตอนการกำจัดแมลงเพื่อลดปัญหาแมลงและศัตรูพืชของผักไฮโดรโปนิกส์
โปรแกรม NutriCal article
โรคใบจุดผักไฮโดร
​เตรียมตัวให้พร้อม ก่อนคิดจะปลูกผักสลัดขาย
ขั้นตอนการปลูกผักไฮโดร
การปลูกผักกาดขาวแบบไม่ง้อปั๊มทานเองในครอบครัว
สูตรอาหารพืช ปุ๋ยA+B
การปลูกผักบุ้งระบบไฮโดรแบบน้ำนิ่ง
ระบบการปลูกผักโดยไม่ใช่ดินในแบบต่างๆ
ทำความรู้จักผักสลัดไฮโดรโปนิกส์
ประวัติความเป็นมาไฮโดรโปนิกส์
ความรู้ทั่วไปของการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ article
ไฮโดรโปนิกส์ปลูกอะไรได้บ้าง
ไฮโดรโปนิกส์น้ำนิ่งคือ?
เทศกาลกระเช้าผักเริ่มขึ้นแล้ว
กัญชงคืออะไร?
กัญชง V.S. กัญชา ต่างกันอย่างไร
9 ผักสวนครัวที่แนะนำให้ปลูกด้วยระบบไฮโดรโปนิกส์
สิ่งที่ต้องดูแลและควบคุมเมื่อปลูกผักไฮโดรฯ
ต้องดูแลควบคุมอะไรบ้างเมื่อปลูกผักไฮโดรฯ
เรื่องปุ๋ยไฮโดรโปนิกส์อินทรีย์
ปัญหาที่พบบ่อยในการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์
ประโยชน์ของผักไฮโดรโปนิกส์
เปรียบเทียบการปลูกด้วยเพอร์ไลท์และฟองน้ำ
โรคพืชต่างๆในระบบไฮโดรโปนิกส์และการป้องกัน
วิธีการปลูกผัก watercress แบบง่ายๆ
การปลูกผักไฮโดรโปนิกส์เพื่อหารายได้เสริม
การควบคุมโรคผักโดยชีววิธี-ในการปลูกผักไฮโดรฯไร้สาร