ปัญหาเรื่องระบบน้ำที่พบบ่อยในการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์
ReadyPlanet.com
dot
test member
ชื่อผู้ใช้ :
รหัสผ่าน :
เข้าสู่ระบบอัตโนมัติ :
bullet ลืมรหัสผ่าน
bullet สมัครสมาชิก
dot


facebook.com/h2ohydrogarden hydroponics soilless culture
h2ohydrogarden@hotmail.com/chu0880 hydroponics soilless culture
BANSABAI hostel
Department of Agricultural Extension
Kasetsart University h2ohydrogarden hydroponics soilless culture
IG:h2ohydrogarden
Line:h2ohydrogarden


ปัญหาเรื่องระบบน้ำที่พบบ่อยในการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์

ปัญหาเรื่องระบบน้ำที่พบบ่อยในการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์

หนึ่งในปัญหาที่นักเรียนของเราชอบถามกันมากคือเรื่องเกี่ยวกับระบบน้ำ ส่วนใหญ่จะถามจากนักเรียนที่เลยลองพยายามทำระบบไฮโดรโปนิกส์ด้วยตัวเอง โดยส่วนใหญ่ วางแผนระบบฟาร์มที่ไม่รัดกุมเพียงพอ อาจจะด้วยเหตุผลหลายๆอย่าง ทั้งความไม่รู้ไม่เข้าใจอย่างแท้จริง หรือหาข้อมูลจากแหล่งที่ไม่น่าเชื่อถือ คนแนะนำมา หรือลองผิดลองถูกเองก็ตาม ซึ่งส่วนใหญ่เคยประสบปัญหาเกี่ยวกับการปลูกในระยะยาวด้วยกันทั้งสิ้น ทำให้เสียหายขาดทุนจนบางครั้งล้มเลิกความคิดที่จะปลูกพืชด้วยระบบไฮโดรไปเลยก็ตาม วันนี้เลยจะมาพูดถึงเรื่องระบบน้ำของไฮโดรโปนิกส์กัน เพื่อหวังว่าบทความนี้จะช่วยให้ทุกคนเข้าใจเรื่องระบบน้ำได้ดียิ่งขึ้น และสามารถเอาไปใช้จริงในฟาร์มผักกันนะคะ 

ระบบน้ำของการปลูกไฮโดรโปนิกส์นั้น แบ่งเป็น 2 แบบหลักๆ นั่นก็คือ

1 ระบบน้ำแบบรวม

คือระบบน้ำแบบที่มีถังสารละลายแค่ 1 ถัง หรือ 1 บ่อ ซึ่งจะแจกจ่ายน้ำไปยังแปลงปลูกทุกๆแปลง ระบบน้ำมีข้อดีเรื่องความร้อนของน้ำที่จะเย็นกว่าระบบอื่น และยังช่วยลดการทำงานในฟาร์ม เพราะวัดค่าEC/pH แค่บ่อเดียว สามารถใช้เครื่องเติมปุ๋ยและกรดแบบอัตโนมัติได้เพื่อช่วยควบคุมค่าน้ำให้เหมาะกับการเจริญเติบโตของพืชให้มากที่สุด แต่ความเสี่ยงของระบบนี้ค่อนข้างสูงเพราะหากเครื่องเสีย เกิดความผิดปกติกับสารอาหารหรือค่า pH จะทำให้ ผักเสียหายทั้งหมด รวมถึงหากมีการระบาดของโรคเช่น โรครากเน่า ระบบนี้จะทำให้โรคระบาดอย่างรวดเร็วมากกว่าระบบอื่น ความสะอาดจึงเป็นเรื่องที่สำคัญมากสำหรับการปลูกแบบระบบน้ำรวม นอกจากนี้ระบบไฮโดรแบบน้ำรวมยังใช้เงินทุนค่อนข้างสูงถ้าเทียบกับระบบอื่นอีกด้วย ดังนั้นระบบนี้จึงเหมาะกับผู้มีประสบการณ์มากกว่ามือใหม่ เพราะต้องอาศัยความรู้ความเชียวชาญ มากนั่นเอง  

2 ระบบน้ำแบบเฉพาะแปลงปลูก

คือระบบน้ำที่มีแยกสำหรับแต่ละแปลง โดยมีถังสารละลายเฉพาะของแต่ละแปลงไม่ยุ่งเกี่ยวกัน ระบบนี้จะเป็นระบบที่ H2O Hydro Garden เลือกใช้เนื่องจากมีการลงทุนด้านโครงสร้างต่ำที่สุด ไม่เสี่ยงต่อการระบาทของโรค เหมะสำหรับฟาร์มขนาดเล็ก เนื่องจากใช้แรงในการเติมน้ำวัดค่าน้ำมากกว่าระบบใหญ่ ระบบนี้เหมาะกับมือใหม่ที่ยังไม่แน่ใจ หรือต้องการขยายฟาร์มจากเล็กไปหาใหญ่ ซึ่งจะเหมาะกว่าเพราะไม่เสียเงินลงทุนก้อนใหญ่ในทีเดียว 

นอกจากสองระบบหลักนี้แล้ว ก็จะมีบอกฟาร์ม ทำระบบน้ำแบบลูกผสมระหว่างสองแบบนี้ นั่นก็คือระบบน้ำแบบกลุ่ม นั่นก็คือระบบน้ำ  1 ชุด จ่ายน้ำให้กับ 3-10 แปลง เพื่อลดความเสี่ยง และเพิ่มความรวดเร็วในการเติมปุ๋ยนั่นเอง สุดท้ายนี้หวังว่าบทความนี้จะพอช่วยเป็นแนวทางในการเลือกระบบน้ำไปใช้กันหรือเอาไปปรับปรุงระบบที่มีอยู่แล้วได้บ้างนะคะ ส่วนใครมีคำถามเกี่ยวกับการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์เรื่องอื่นๆที่ยังไม่เข้าใจ ก็สอบถามเข้ามาได้ตลอดเลยค่ะที่ Line@h2ohydrogarden

สอบถามเรื่องการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์เพิ่มเติมทักมาได้เลยค่ะ

 

 

 เพิ่มเพื่อน

 



ความรู้เบื้องต้นผักไฮโดร

ก่อนเริ่มต้นปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ ต้องรู้จักระบบน้ำกันก่อน
ปลูกกัญชากัญชงแบบไฮโดรโปนิกส์
ไฮโดรโปนิกส์แบบแนวตั้ง
The Kratky Method คืออะไร?
3 ระบบไฮโดรยอดนิยม
การทำลายพืชที่เป็นโรคใบจุดอย่างถูกวิธี
แหล่งน้ำที่เหมาะสมสำหรับการปลูกผักระบบไฮโดโปนิกส์
เครื่องมือวัดแสง Lux meter
การปลูกผักเคล ราคาดี ไม่ยากอย่างที่คิด
ค่าecและค่าpH ในการปลูกผักแต่ละชนิด
อาการพืชใบเหลือง เกิดจากอะไร แก้ยังไง
การเลือกปั๊มน้ำสำหรับรางปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ ให้เหมาะสม
เกร็ดความรู้... เกี่ยวกับสารละลายธาตุอาหารปุ๋ยเอบี
เคล็ดลับการปลูกผักไฮโดรน้ำนิ่งที่คนไม่ค่อยรู้
เคยสงสัยไหมว่าผักไฮโดรเติบโตได้อย่างไร เมื่อไม่มีดิน?
งานวิจัยเรื่องปุ๋ยไฮโดรโปนิกส์อินทรีย์
การเปรียบเทียบระหว่างการวัดค่าpH ด้วย pH meter เทียบกับ การวัดด้วย drop test
ปลูกผักกินเองง่ายๆแบบคนขี้เกียจ
ความรู้เรื่องการปลูกผักด้วยหลอด LED
ความแตกต่างระหว่างการปลูกแบบน้ำนิ่ง กับ การปลูกแบบน้ำวน
ราชินีของผักทั้งมวลผักเคล (kale)
เคล็ดลับในการเลือกซื้อปุ๋ยเอบี!!!
จุดแข็งของการปลูกพืชด้วยระบบHydroponics
ก่อนปลูกผักสลัดขายต้องรู้อะไรบ้าง?
ปลูกขึ้นฉ่ายน้ำนิ่ง
ครบเครื่องเรื่องปุ๋ยแบบชาวบ้าน
น้ำหมักชีวภาพสำหรับปลูกผักไฮโดรโปนิกส์
ค่า EC ต่อ ผลผลิตพืช
การปลูกผักไฮโดรน้ำนิ่งแบบง่ายๆเองที่บ้าน
เทคนิคการเพาะเมล็ดในเพอร์ไลท์และเวอร์มิคูไลท์
การใช้กับดักกาวเหนียวในฟาร์มผักไฮโดรของเรา
โรคที่เกิดกับต้นอ่อนหรือกล้าผัก
มาทำความรู้จักผักสลัดของเรากันดีกว่า
ปัจจัยที่มีผลต่ออายุของเมล็ดพันธุ์
การทำงานของรากพืชที่ปลูกในระบบไฮโดรโปนิกส์
อาการขาดธาตุอาหารและลักษณะอาการเป็นพิษ
เชื้อ Pythium…….สาเหตุสำคัญของโรคที่เกิดกับราก
ช่องทางการขายผักสลัด
วิธีการล้างและเก็บผักสลัดให้อยู่ได้นานๆ
วิธีการปลูกผักร็อกเก็ต
แมลงที่พบบ่อยในผักไฮโดรโปนิกส์วิธีการป้องกันและกำจัด
ขั้นตอนการกำจัดแมลงเพื่อลดปัญหาแมลงและศัตรูพืชของผักไฮโดรโปนิกส์
โปรแกรม NutriCal article
โรคใบจุดผักไฮโดร
​เตรียมตัวให้พร้อม ก่อนคิดจะปลูกผักสลัดขาย
ขั้นตอนการปลูกผักไฮโดร
การปลูกผักกาดขาวแบบไม่ง้อปั๊มทานเองในครอบครัว
สูตรอาหารพืช ปุ๋ยA+B
การปลูกผักบุ้งระบบไฮโดรแบบน้ำนิ่ง
ระบบการปลูกผักโดยไม่ใช่ดินในแบบต่างๆ
ทำความรู้จักผักสลัดไฮโดรโปนิกส์
ประวัติความเป็นมาไฮโดรโปนิกส์
ความรู้ทั่วไปของการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ article
ไฮโดรโปนิกส์ปลูกอะไรได้บ้าง
ไฮโดรโปนิกส์น้ำนิ่งคือ?
เทศกาลกระเช้าผักเริ่มขึ้นแล้ว
กัญชงคืออะไร?
กัญชง V.S. กัญชา ต่างกันอย่างไร
9 ผักสวนครัวที่แนะนำให้ปลูกด้วยระบบไฮโดรโปนิกส์
สิ่งที่ต้องดูแลและควบคุมเมื่อปลูกผักไฮโดรฯ
ต้องดูแลควบคุมอะไรบ้างเมื่อปลูกผักไฮโดรฯ
เรื่องปุ๋ยไฮโดรโปนิกส์อินทรีย์
ผักไฮโดรโปนิกส์ ทำให้เกิดมะเร็ง...จริงหรือ
ปัญหาที่พบบ่อยในการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์
ประโยชน์ของผักไฮโดรโปนิกส์
เปรียบเทียบการปลูกด้วยเพอร์ไลท์และฟองน้ำ
โรคพืชต่างๆในระบบไฮโดรโปนิกส์และการป้องกัน
วิธีการปลูกผัก watercress แบบง่ายๆ
การปลูกผักไฮโดรโปนิกส์เพื่อหารายได้เสริม
การควบคุมโรคผักโดยชีววิธี-ในการปลูกผักไฮโดรฯไร้สาร